เสาอากาศทีวี , เสาทีวี,การติดตั้งเสาอากาศ CABLE TV, TV CABLE
ReadyPlanet.com
dot
ติดต่อเราได้ทาง Line นะคะ ตอบทันที
dot
dot
ค้นหาข้อมูลสินค้าในเว็บไซด์

dot
dot
รับติดตั้งจานดาวเทียม (Satellite)
dot
bulletจานดาวเทียม ติดตั้งหลายจุด
bulletจานดาวเทียม พร้อมติดตั้ง
bulletจานดาวเทียมปิคนิค
dot
รับติดตั้งเสาดิจิตอลทีวี (Digital TV)
dot
bulletเสาดิจิตอลทีวี ระบบทีวีรวม
bulletติิดตั้งดิจิตอลทีวี บ้านพักอาศัย
bulletอุปกรณ์รับสัญญาณดิจิตอลทีวี
bulletเสาอากาศทีวี / Antenna
dot
รับติดตั้งระบบทีวีรวม (MATV)
dot
bulletชุดงานระบบทีวีรวม MBOX 10 CH
bulletชุดงานระบบทีวีรวม MBOX 14 CH
bulletชุดงานระบบทีวีรวม MBOX 20 CH
bulletชุดงานระบบทีวีรวม MBOX 24 CH
bulletชุดงานระบบทีวีรวม MBOX 28 CH
bulletรับติดตั้งระบบทีวีรวม (MATV)
bulletชุดโปรโมชั่นงานระบบทีวีรวม
bulletชุดงานระบบ GMM Z MATV
dot
ชุดกล้องวงจรปิด CCTV พร้อมติดตั้ง
dot
bulletกล้องวงจรปิด KENPRO
dot
ติดตั้งสัญญาณกันขโมย ALARM
dot
bulletสัญญาณกันขโมย CHUANGO
bulletสัญญาณกันขโมย FUJIKO
dot
อุปกรณ์ไม้กั้น
dot
bulletไม้กั้นทางเข้า ออก อัตโนมัติ
bulletไม้กั้นทาง อัตโนมัติ HV-BR04


รับติดตั้งเสาอากาศทีวี ดิจิตอล
รับติดตั้งจานดาวเทียม
ตัวอย่างผลงานติดตั้งระบบทีวีรวม,ระบบ MATV, ระบบ Digital TV
ตัวอย่างผงงานติดตั้งกล้องวงจรปิด
ชุดกล้องวงจรปิด Hiview HD TVI
กล้องวงจรปิด Kenpro HD TVI
ประกันของหายจ่ายจริง
รับประกันนาน 3 ปี
รับติดตั้งสัญญาณกันขโมย CHUANGO, Fujiko, Hiview
บริการติดตั้งระบบควบคุมประตู และบันทึกเวลาการทำงาน


หลักทั่วไปในการติดตั้งเสาอากาศ article

1.              การติดตั้งปีกอากาศหลายแผงในเสาต้นเดียวกัน  ระยะห่างระหว่างปีกอากาศแต่ละแผง  ไม่ควรน้อยกว่า  50  ซม.  จนถึง  100  ซม.

2.              หลีกเลี่ยงการติดตั้งปีกอากาศใกล้สายไฟแรงสูง  ใกล้ต้นไม้และใกล้ลำคลอง

3.              หลีกเลี่ยงการเดินสายทาบบนโลหะ

4.              การติดตั้งเสายึดปีกอากาศ  ถ้าเป็นอาคารบ้านพักอาศัยที่ไม่มีสิ่งกีดขวางในการรับสัญญาณ  การติดตั้งเสายึดทำได้โดยการอาศัยของดาดฟ้าของตัวอาคาร  การยึดเสาเพื่อความแข็งแรง  ควรใช้ถุงเหล็กฝังไว้ในกำแพง  เสายึดที่นิยมใช้  คือ  ขาตั้งเสาตัว  M

 5.              การเดินสายนำสัญญาณที่ลงมาจากปีกอากาศ  ให้รัดสายนำสัญญาณอยู่กับที่  ไม่ให้แกว่งไปมาด้วยเทปพันสายไฟ  หรือเคเบิ้ลไท  นอกจากนี้การเดินสายนำสัญญาณเข้าสู่ตัวอาคาร  ตรงตำแหน่งที่ต่อเข้าอาคาร  ควรจะงอสายก่อนเข้าสู่อาคาร  เพื่อป้องกันน้ำฝนไม่ให้ไหลเข้ามาภายในอาคาร

 6.              การติดตั้งปีกอากาศในกรณีที่มีปัญหาจากการสะท้อนของคลื่นให้ต่อปีกอากาศกับโทรทัศน์  ทดลองรับสัญญาณดูแล้ว  ทำการปรับทิศทางการรับสัญญาณ  ให้มีปัญหาของภาพน้อยที่สุด  แล้วจึงทำการยึดให้แน่น  ส่วนกรณีที่ไม่มีปัญหาจาก  การสะท้อนของคลื่น  ให้ต่อปีกอากาศกับเครื่องวัดสัญญาณ  โดยปรับทิศทางของปีกอากาศให้มีความแรงสัญญาณมากที่สุด

7.              สายล่อฟ้า  ถ้ามีการติดตั้งปีกอากาศที่อยู่ในที่สูง  จำเป็นต้องได้รับการป้องกันฟ้าผ่า  การกำหนดตำแหน่งของปีกอากาศกับสายล่อฟ้า  ให้ติดตั้งปีกอากาศอยู่ในรัศมีคุ้มครองสายล่อฟ้า  ซึ่งรัศมีคุ้มครองนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของสายล่อฟ้า  ถ้าเป็นแบบโลหะปลายแหลมธรรมดามีรัศมีคุ้มครอง  คิดเป็นมุมประมาณ  60  ดังรูป

 

               

 8.              การติดตั้งปีกอากาศโดยใช้เสาอากาศโดยใช้เสาทาวเวอร์  จะมีความแข็งแรงและมั่นคงสูงมาก  โดยที่เสาทาวเวอร์นั้นมีความสูงหลายขนาดให้เลือกตั้งแต่  3  เมตร  -  12  ดมตร  ส่วนการติดตั้งเสานั้นไม่ยุ่งยาก  เพราะเดี๋ยวนี้มีผู้ผลิตได้ผลิตเสาทาวเวอร์  ที่เป็นแบบไม่ยึดสลิง  ดังรูป  ซึ่งทางทาวเวอร์ชนิดนี้จะประกอบและติดตั้งง่าย  เพราะแต่ละท่อนของทาวเวอร์สูง  1.5  -  2  เมตร  ส่วนด้านบนของเสาทาวเวอร์  จะมีการติดตั้งปีกอากาศอีก  2  อัน  การติดตั้งเสาทาวเวอร์จะต้องหาพื้นที่ติดตั้งเป็นพื้นคอนกรีต  การยึดเสาทาวเวอร์กับพื้นที่คอนกรีตด้วยการฝัง  พุกเหล็กลงกับพื้นคอนกรีตจำนวน  8  ตัว  ฐานทาวเวอร์กับพื้นคอนกรีต

9.              การเดินสายนำสัญญาณ  จากเฮดเอนด์แยกไปตามเอาต์เลตต่างๆ จะต้องคำนึงถึงความแข็งแรงทนทานการเดินสายนำสัญญาณภายในอาคารที่  มักพบเห็นมีอยู่ด้วยกัน  3  แบบ  คือ  การเดินสายตามท่อโลหะ, การเดินสายตามท่อ  PVC  และการเดินสายลอย  ซึ่งความแข็งแรงทนทานมากน้อยตามลำดับ

9.1       การเดินสายตามท่อโลหะ  จะมีความแข็งแรงทนทานและป้องกันความชื้นได้ดี  การเลือกใช้ขนาดท่อขึ้น  อยู่กับจำนวนสายนำสัญญาณ  ก็ให้พิจารณาพื้นที่หน้าตัดของสายรวมกันต่ำกว่า  30% ของพื้นที่หน้าของตัดท่อ  โดยท่อโลหะจะเป็นแบบท่อเหล็กชนิดบางชุบสังกะสี

9.2       การเดินสายตามท่อ  PVC  เป็นวิธีที่สะดวกและประหยัด  เพราะการตัดต่อการงอท่อทำได้ง่ายน้ำหนักของท่อเบา

9.3       การเดินสายลอย  เป็นวิธีที่สะดวกที่สุด  ขั้นตอนการเดินสายเหมือนกับการเดินสายไฟธรรมดา  เพียงแต่เก็บเข็มขัดรัดสายเป็นคลิปตอกสายนำสัญญาณ 

10.           การเดินสายภายนอกอาคาร  ส่วนใหญ่จะใช้เป็นระบบ  CATV  ดังนั้นต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อม  และเงื่อนไขต่างๆ  เช่น  สายนำสัญญาณอยู่กลางแดด  กลางฝน  และสภาวะอุณหภูมิที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา  จึงต้องเลือกใช้สายนำสัญญาณ  และการติดตั้งที่ถูวิธี

10.1        สายนำสัญญาณที่ใช้ต้องเป็นแบบสายนำสัญญาณพร้อมสลิง  ที่มีฉนวนหุ้มค่อนข้างหนา  และแข็งแรง

10.2        การเดินสายนำสัญญาณภายนอกส่วนใหญ่  จะใช้เกาะติดกับเสาไฟฟ้าซึ่งต้องมีการเสียค่าใช้จ่าย  การใช้เสาไฟฟ้าเป็นรายเดือน  โดยติดต่อที่การไฟฟ้าแต่ละแห่ง

10.3        การตึงของสายอย่าให้มีความหย่อนของสายมาก  พยายามขึงให้ตึง

10.4        การยึดลวดสลิงกับเสาต้องมั่นคง  โดยการยึดติดสายลวดสลิง  แบ่งออกเป็น  3  อย่าง  คือ  การยึดปลายสาย  การยึดระหว่างทาง  และการยึดที่ทำมุมต่างๆ

11.           การติดตั้งอุปกรณ์ระหว่างทาง  จำพวก  TRUNK  AMP, สปลิเตอร์, แท็ปออฟในกรณีติดตั้ง TRUNK  AMP  ให้เผื่อสายไว้ประมาณ  1 2  เมตร

 การต่อสายแบบไม่มีคอนเนตเตอร์

                เป็นการต่อสายนำสัญญาณเข้ากับอุปกรณ์โดยตรง  ซึ่งมักจะพบการต่อแบบนี้กับอุปกรณ์จำพวกสปลิตเตอร์หรือ

แท็ปออฟแบบตัวพลาสติก  ดังรูป

ก.       ปลอกฉนวน  (แจ๊คเก็ต)  ให้มีความยาว  12  mm.

         

 ข.       ถลกซีลด์ลวดสานกลบมาคลุมฉนวน  แล้วปอกโฟมออก  8  mm.  ซึ่งจะเหลือแกนนำสัญญาณทองแดง

ค.       การต่อสายแบบคอนเนคเตอร์  เพียงสอดปลายสายผ่านเข็มขัด  ถ้ามีการบัดกรีตะกั่วที่เข็มชีลด์ถัก  ก็จะทำให้มั่นใจว่ามีการสัมผัสชีลที่ดี

 

การต่อสายคอนเนตเตอร์แบบ  F-TYPE

                เรามักจะพบการต่อแบบนี้ในงานระบบดาวเทียมค่อนข้างมาก  แต่ในระบบ  MATV  ก็มีอยู่ไม่ใช่น้อยที่ใช้  เช่น  การต่ออุปกรณ์สปลิตเตอร์แท็ปออฟตัวเหล็ก  การเลือกใช้  F-TYPE  ที่นิยมใช้กันมากก็มีอยู่  2  แบบ  คือ  แบบแหวนรัดกันแบบเกลียว  ดังรูป  การต่อแบบ  F-TYPE  ชนิดเกลียว  มีขั้นตอนดังนี้  ทำการปลอกสายตามความยาวในรูป

ก.)     จากนั้นถลกชีลด์ลวดสานกลับไปหุ้มฉนวนด้านนอกตามรูป

ข.)     นำ  F-TYPE  มาสวมใส่สายนำสัญญาณ  พร้อมทำการหมุน  F-TYPE  เข้าไปกับสายนำสัญญาณ  โดยให้แกนนำสัญญาณเหลือพ้นปลายหัว  F-TYPE  ประมาณ  4  mm.


สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม / แสดงความคิดเห็น

โทร. 02- 743 7006, 02-747 9409, 01-642 2573, 09-120 2573



ชื่อ
เบอร์โทรศัพท์
อีเมล
หัวข้อ
รายละเอียด




ข้อมูลเกี่ยวกับ ระบบดาวเทียม

ดาวเทียมที่รับได้ ในประเทศไทย article
รูปติดตั้งจานดาวเทียม article
รูปงานติดตั้งระบบทีวีTVรวม MATV,SMATV article
รูปงานกิจกรรมการตลาด article
เบื้องต้นก่อนติดจานดาวเทียม 1 article
เบื้องต้นก่อนติดจานดาวเทียม 2 article
ก่อนตัดสินใจติดตั้งระบบทีวีรวม article
มุมก้มเงย จานแบบมูฟ article
หลักการปรับมุมก้มเงย - มุมชดเชย จานมูฟ
Astro Channel
มุมก้มเงย มุมกวาด ( กรุงเทพ ) article
เทคนิคติดตั้งจานจาก PSI article
ช่องรายการข่าว จานดาวเทียมระบบ C-Band ( ฟรีทีวี ) article
ช่องรายการเพลง จากดาวเทียมระบบ C-Band ( ฟรีทีวี ) article
ช่องรายการ ผ่านดาวเทียม article
การโปรแกรมเครื่อง Silverbox article